การประเมินคุณภาพของผลงานวิจัยของประเทศไทย ด้วยค่า Impact Factor และ Citation Frequency

รางวัลผลงานวิจัยเกียรติยศ สกว. (TRF Research Publication Award)

พ.ศ. 2542 : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด และตีพิมพ์ในวารสารที่มี Impact Factor สูงสุด

  1. นักวิจัยในประเทศไทย ที่ตีพิมพ์บทความซึ่งมีความถี่ของการอ้างอิงมากที่สุด :
  2. ศ. ดร. สกล พันธุ์ยิ้ม
    คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
    จากบทความ High Resolution Arylamide Gel Electrophoresis of Histones
    ตีพิมพ์ในวารสาร Archives of Biochemistry and Biophysics 130: 337-346 (1969)
    ได้รับการอ้างอิงถึงปัจจุบัน 2,558 ครั้ง
  3. นักวิจัยที่ตีพิมพ์ผลงานที่ได้รับทุนจาก สกว. และได้รับการอ้างอิงสูงสุด
  4. รศ. นพ. อภิวัฒน์ มุทิรางกูร
    คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    จากบทความ Telomerase Activity in Oral Leukoplakia and Head and Neck Squamous Cell Carcinoma
    ตีพิมพ์ในวารสาร Cancer Reseach 56: 3530-3533 (1996)
    ได้รับการอ้างอิงถึงปัจจุบัน 41 ครั้ง
  5. นักวิจัยที่ตีพิมพ์ผลงานที่ได้รับทุนจาก สกว. ในวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด
  6. รศ. นพ. อภิวัฒน์ มุทิรางกูร
    คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    จากบทความ Telomerase Activity in Oral Leukoplakia and Head and Neck Squamous Cell Carcinoma
    ตีพิมพ์ในวารสาร Cancer Reseach 56: 3530-3533 (1996)
    ค่า Impact Factor ของวารสาร = 8.426

จากหนังสือ : เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2542. TRF Senior Research Scholar 1999. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ISBN 974-89566-0-1] หน้า 70-71

พ.ศ. 2543 : รางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์ที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) โดยรวมสูงสุด

  1. สาขาฟิสิกส์ - ศ.ดร. วิรุฬห์ สายคณิต
  2. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 22 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 208 ครั้ง
  3. สาขาวิศวกรรมศาสตร์ - ศ.ดร. จงรักษ์ ผลประเสริฐ
  4. คณะสิ่งแวดล้อมทรัพยากรและการพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT)
    มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 52 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 261 ครั้ง
  5. สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ - ศ.ดร. ผาสุก พงษ์ไพจิตร
  6. คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 26 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 109 ครั้ง
  7. สาขาคณิตศาสตร์ - ไม่มีผู้เข้าข่ายได้รับรางวัล

จากหนังสือ : เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2543. TRF Senior Research Scholar 2000. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ISBN 974-8196-85-2] หน้า 64-65

พ.ศ. 2544 : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) โดยรวมสูงสุด ระหว่างปี ค.ศ. 1990 ถึงปัจจุบัน

  1. สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์
  2. ศ.นพ. ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ
    คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
    มีผลงานจำนวน 192 เรื่อง
    มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 95 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 1,177 ครั้ง
    ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Am J Path 1994; 145(5): 1057-69. (89 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ J Clin Invest = 10.921
  3. สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์
  4. ศ.ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์
    คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
    มีผลงานจำนวน 45 เรื่อง
    มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 20 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 175 ครั้ง
    ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Tetrahedron 1990; 46: 1385. (73 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ J Med Chem = 4.079
  5. สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
  6. รศ.ดร. ชาย โพธิสิตา
    สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
    มีผลงานจำนวน 19 เรื่อง
    มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 12 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 84 ครั้ง
    ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ AIDS 1996; 10: 1265-71. (28 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ AIDS = 6.931

จากหนังสือ : เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2544. TRF Senior Research Scholar 2001. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ISBN 974-8196-94-1] หน้า 56-57

พ.ศ. 2545 : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) โดยรวมสูงสุด ระหว่างปี ค.ศ. 1991 ถึงปัจจุบัน

  1. สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์
  2. ศ.นพ. ธีระ ศิริสันธนะ
    สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 24 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 443 ครั้ง
    ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Lancet 1994;344(8915): 110-3. (111 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ Lancet = 10.232
  3. สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์
  4. ศ.ดร. วิชัย ริ้วตระกูล
    คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
    มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 28 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 186 ครั้ง
    ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Tetrahedron 1997;53:17625. (18 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ Tetrahedron Lett = 2.558

เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2545. TRF Senior Research Scholar 2002. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ISBN 974-7206-07-5] หน้า 62-72

พ.ศ. 2546 : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) โดยรวมสูงสุด ระหว่างปี ค.ศ. 1992 ถึงปัจจุบัน

  1. สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
  2. ศ. ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์
    ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สวทช.
    มีผลงานตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน
    โดยเป็นผู้นิพนธ์ชื่อแรก หรือชื่อสุดท้าย หรือเป็น corresponding author
    และผลงานนั้นได้รับการอ้างอิง จำนวน 26 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 342 ครั้ง
    ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Antimicrob Agents Ch 1993:37:1108-1114 (112 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มี impact factor สูงสุด คือ J Clin Invest (=14.051)
  3. สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
  4. ศ.นพ. ยง ภู่วรวรรณ
    คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    มีผลงานตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน
    โดยเป็นผู้นิพนธ์ชื่อแรก หรือชื่อสุดท้าย หรือเป็น corresponding author
    และผลงานนั้นได้รับการอ้างอิง จำนวน 55 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 323 ครั้ง
    ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Clinical Cancer Research 1998:4(3):665-669 (43 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มี impact factor สูงสุด คือ Antiviral Therapy (=6.565)
  5. สาขาเกษตรศาสตร์
  6. ศ.ดร. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม
    คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    มีผลงานตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน
    โดยเป็นผู้นิพนธ์ชื่อแรก หรือชื่อสุดท้าย หรือเป็น corresponding author
    และผลงานนั้นได้รับการอ้างอิง จำนวน 29 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 202 ครั้ง
    ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Plant and Soil 1993:155/156:309 (24 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มี impact factor สูงสุด คือ Field Crop Res (=1.302)
  7. สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ
  8. รศ.ดร. สุพจน์ หารหนองบัว
    คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    มีผลงานตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน
    โดยเป็นผู้นิพนธ์ชื่อแรก หรือชื่อสุดท้าย หรือเป็น corresponding author
    และผลงานนั้นได้รับการอ้างอิง จำนวน 16 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 105 ครั้ง
    ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ J Chem Phys 1992:96:6945 และ
    J Phys Chem A 1997;101:5551 (14 ครั้ง)
    ผลงานวารสารที่มี impact factor สูงสุด คือ J Phys Chem (=3.611)
  9. สาขาวิศวกรรมศาสตร์ - ไม่มีผู้เข้าข่ายได้รับรางวัล
  10. สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ - ไม่มีผู้เข้าข่ายได้รับรางวัล

เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2546. TRF Senior Research Scholar 2003. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. หน้า 108-138