วิสัยทัศน์ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข : "เป็นห้องสมุดแห่งแรกที่ทุกคนนึกถึง เมื่อต้องการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และสุขกาย - สบายใจ - ได้ความรู้ทุกครั้งที่เข้ามาใช้บริการ"
คำขวัญ : "ชาวห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข ไม่ว่าจะทำอะไร - เราทำอย่างดีที่สุด"
สำรวจความคิดเห็น โครงการ "ห้องสมุดในฝัน" (ช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน มีนาคม 2549) เรามุ่งมั่น จะทำให้ทุกฝันของท่านกลายเป็นจริง ..
รายที่ ประเภทบุคคล ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข จะต้องทำอย่างไร จึงจะได้เป็นห้องสมุดในฝันของท่าน นอกจากบริการทั่วไปของห้องสมุดแล้ว ท่านต้องการอะไร
1 ประชาชนทั่วไป อยากให้เพิ่มโต๊ะอ่านหนังสือ เพราะบางทีไม่เพียงพอ อยากให้จัดมุมกาแฟ หรือเครื่องดื่ม ที่นั่งดื่มเครื่องดื่ม
    อยากให้มีมุมพักผ่อน พักสายตาเวลาอ่านหนังสือมากๆ เช่นมุมนิตยสาร และอ่านหนังสือไปด้วยได้
    อยากให้เปิดใช้ถึง 2 ทุ่มทุกวัน  
2 ประชาชนทั่วไป ดีแล้ว coffee shop + Bakery
      นวนิยาย เรื่องสั้น
3 ประชาชนทั่วไป มีหนังสือที่หลากหลาย ทั้งรูปแบบเดิมและใช้ technology ในรูปแบบต่างๆ ลดหย่อนค่าปรับหนังสือตามความจำเป็นในแต่ละกรณี
    เอื้อประโยชน์ให้กับผู้มาใช้บริการอย่างมากที่สุด  
4 ประชาชนทั่วไป เงียบ สงบ มีหนังสือหรือวารสารทางวิทยาศาสตร์ครบถ้วน และที่สำคัญต้องทำให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงแหล่งข้อมูลดังกล่าวได้ง่ายๆ จัดเสวนานักเขียนก็ดีค่ะ จะได้มุมมองใหม่ๆ จากบรรดานักเขียน
    คือหาเมื่อไหร่ก็เจอได้ง่ายและสะดวก ทั้งหลาย / มีมุมกาแฟก็ยิ่งดี เพราะจะได้ไม่หลับค่ะ
5 ประชาชนทั่วไป มีคอมพิวเตอร์ที่สามารถค้นหาข้อมูลหนังสือได้เร็วเพิ่มขึ้น  -
    มีที่ถ่ายเอกสารเพิ่มขึ้น ทำให้ xerox ได้รวดเร็ว  
    มีการนำวารสารเข้าออกชั้นที่รวดเร็ว และสามารถสอบถามได้ทันทีว่าวารสารอยู่ที่ไหน  
6 ประชาชนทั่วไป มีคอมพิวเตอร์หาข้อมูลชื่อหนังสือ ชื่อเรื่องที่เราต้องการและสามารถบอกได้ทันทีว่าอยู่ส่วนไหนของห้องสมุด เพื่อประหยัดเวลา มีที่แอบหลับ มุมพักผ่อน
7 ประชาชนทั่วไป เพิ่มโต๊ะอ่านหนังสือ มีห้องสื่อการศึกษา เช่น สื่อการสอน ฟังเทป / VCD อยากให้มีการอ่านหนังสือในห้องสมุดจาก Internet ได้
      เพื่อสะดวกในการค้นหาข้อมูลโดยไม่ต้องเสียเวลาเข้ามาที่ห้องสมุด
8 ประชาชนทั่วไป อยากให้มีหนังสือหลากหลายกว่านี้ เช่น หนังสือเรื่องอื่นๆ นอกจากวิทยาศาสตร์ เช่น กฎหมาย สังคม ภาษา ฯลฯ ตู้รับคืนหนังสือตามจุดต่างๆ เพื่อความสะดวกในการคืนหนังสือ
      ทุกเวลา
9 ประชาชนทั่วไป มีเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างเพียงพอใช้ มีหนังสือที่มีสาระทุกเรื่อง และมีหนังสือที่อยากอ่าน อยากให้มีการให้ยืมหนังสือสำหรับบุคคลภายนอก
10 ประชาชนทั่วไป หาง่าย (สถานที่ตั้ง) / มีระบบค้นหาง่ายๆ / เข้าระบบอินเตอร์เน็ต (อยู่ที่ไหนก็ค้นได้) บรรณารักษ์สวยๆ / มีนวนิยายด้วย
11 ประชาชนทั่วไป ระบบ Com ในการเรียกหาชื่อหนังสือ ผู้แต่ง และชี้บอกตำแหน่งที่จัดวาง เพื่อสะดวกในการค้นหา / บริการส่งหนังสือถึงที่ บริการส่งหนังสือถึงที่และรับคืน
12 ประชาชนทั่วไป มีระบบค้นข้อมูลที่รวดเร็ว / เงียบสงบ มีมุมอ่านหนังสือสงบเพียงพอ / มีหนังสือ Magazine ใหม่ๆ จัดเสวนานักเขียนที่มีชื่อเสียง / มีกิจกรรมพบปะระหว่างผู้อ่านด้วยกัน
13 ประชาชนทั่วไป อยากให้ปรับปรุงชีดีที่ให้เช่า ชัดขึ้น / ให้มีหนังสือที่สรุปข่าวสารสั้นๆ ทั่วไปๆ มุมกาแฟ
14 ประชาชนทั่วไป ควรมีบริการเช่าวีชีดีสารคดี ภาพยนตร์ทั้งในและต่างประเทศ บริการข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
15 ประชาชนทั่วไป เมื่อเราต้องการข้อมูลในการวิจัย เราต้องหาข้อมูลเพิ่มจากห้องสมุด แต่บางครั้งหาข้อมูลไม่ได้ตามที่ต้องการ  ยังนึกไม่ออกค่ะ
    เพราะหนังสือที่เราต้องการไม่ได้อยู่ที่ซั้น แต่ก็ไม่มีคนยืมออกไป (หรือมีคนยืมออก)  
    น่าจะมีการเก็บข้อมูลไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถหาข้อมูลได้ง่ายๆ   
16 ประชาชนทั่วไป มีช่องให้คืนหนังสือหลังเวลาทำการ เพราะบางทีต้องการคืนหนังสือในวันที่กำหนด แต่มาไม่ทันห้องสมุดปิดไปแล้ว   
  (นักวิจัย) บุคคลที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่-นักศึกษาของคณะแต่ทำงานในคณะอย่างดิฉันเป็น จนท ศช (สวทช) จะมีบัตรยืมคืนได้อย่างไร  
    วารสารใหม่ อยากให้นำออกมาให้บริการให้เร็วกว่านี้ เคยจะไปยืมวารสาร Nature ,Science ซึ่งไม่ได้ใหม่มากนัก  
    แต่หนังสือยังอยู่ในกองรอทำบัตรยืมคืนเป็นนาน  
    มีสอนทำ endnote บ่อยขึ้น /  มีบริการให้โปรแกรมฟรี (มีแล้วใช่ไหมคะไม่ไม่ได้ประชาสัมพันธ์หรือเปล่า)  
17 ประชาชนทั่วไป คอมพิวเตอร์ค้นหาสิ่งที่ต้องการได้ง่าย / มีหนังสือทุกชนิด มุมวิชาการ มุมการ์ตูน ฯลฯ / มีมุมพักผ่อน / มีมุมอาหาร 1.มุมพักผ่อน เช่น นอนหลับ 2.มีมุมอาหาร
18 ประชาชนทั่วไป มีระบบการสืบค้นที่มีประสิทธิภาพ และมีสื่อต่าง ๆ ครบถ้วน หลากหลายให้เพียงพอ มีเสวนา นักเขียนชื่อดัง เช่น ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงษ์ศักดิ์
19 ประชาชนทั่วไป สามารถค้นหาหนังสือได้รวดเร็ว เช่น เครื่อง PC ที่ให้ Search  Index หนังสือ แล้วก็มีแผนผังให้ดูได้ว่า  มีมุมกาแฟก็ดี เป็นการจัดบรรยากาศ สถานที่นั่งอ่านหนังสือให้
    หนังสือที่ต้องการอยู่ตรงจุดใด มีบริการให้คำแนะนำหนังสือที่ตรงกับความสนใจ เช่น  ดูสบาย ๆ ไม่เครียด  มีจุดให้ใช้เครื่อง PC เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติม
    อยากทราบเรื่องการจดทะเบียนบริษัท มีวิธีการทำอย่างไรบ้าง ก็มีจุดให้ Search และแสดงชื่อหนังสือที่แนะนำ จาก Internet 
20 ประชาชนทั่วไป มีระบบการบริการที่ทันสมัย สะดวกรวดเร็ว / มีแยก zone  สำหรับความต้องการของแต่ละคนที่มาใช้บริการ  บริการยืมหนังสือ อ่านหนังสือ Online สำหรับ ผู้ที่ไม่มีเวลามา
    เช่น zone สงบ สำหรับคนที่อ่านหนังสือเงียบ ๆ zone สำหรับคนที่มาทำงานกลุ่ม  ฯลฯ ถึงห้องสมุด
21 ประชาชนทั่วไป มีหนังสือให้เลือกอ่านหลากหลายประเภท เช่น หนังสือ บันเทิง หนังสือเกี่ยวกับความรู้ด้านต่าง ๆ หลากหลายสาขาวิชา  จัดบริการให้ยืมหนังสือได้ทีละหลาย ๆ เล่ม 
    ห้องสมุดมีบรรยากาศที่น่าเข้าไปใช้บริการเช่น มีมุมอ่านหนังสือส่วนตัว จัดให้มีมุมหนังสือน่าอ่าน Top 10 อันดับ
22 ประชาชนทั่วไป มีหนังสือประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์และหนังสือคอมพิวเตอร์มากๆ เพราะหนังสือเหล่านี้มีราคาแพง  จัดกิจกรรมให้ความรู้ในห้องสมุด / มุมถ่ายเอกสาร
    หนังสือการ์ตูน เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสมาอ่านหนังสือ  
23 ประชาชนทั่วไป แอร์เย็นฉ่ำ / มีหนังสือครบทุกประเภท / มีคอมพิวเตอร์เพื่อค้นหาข้อมูลให้เพียงพอกับจำนวนผู้ใช้ มุมกาแฟ / entertainment
24 ประชาชนทั่วไป รวบรวมหนังสือจากหลายสำนักพิมพ์ / การค้นหาข้อมูลและแหล่งที่จัดหา สะดวกและรวดเร็ว มุมกาแฟ
25 ประชาชนทั่วไป (ยังไม่เคยเข้ารับบริการในห้องสมุดนี้) อยากให้มีหนังสือทุกประเภท หลากหลาย ไม่ได้มีเฉพาะวิชาการ  อยากให้มีซุ้มหนังสือจากสำนักพิมพ์ต่างๆ
    อยากให้มีวีดิทัศน์ วีดิโอประกอบการเรียนรู้  มีหนังสือจำหน่าย (ลดราคา)  / จัดมุมพักผ่อน มุมกาแฟ
26 ประชาชนทั่วไป อยากให้มีบรรยากาศสบาย ให้มีความรู้สึกคล้ายอยู่กับบ้าน ทำให้อยากอ่านหนังสือมากยิ่งขึ้น อยากให้รู้สึกเป็นกันเอง  -
    ไม่ใช่เข้าไป แล้วรู้สึกเคร่งขรึมเป็นวิชาการ / อยากให้มีมุมที่นั่งอ่านกับพื้นแบบสบายๆบ้าง  
27 ประชาชนทั่วไป มีคอมพิวเตอร์หาความรู้ / หนังสือการ์ตูน มีทีวีให้ดู (UBC)  เกมฝึกปัญญา / การละเล่นพื้นบ้าน
28 ประชาชนทั่วไป ประตูเป็นคีย์การ์ด เปิด 24 ชม. เพื่อความสะดวกต่อนักศึกษาและอาจารย์ มุมกาแฟ
29 ประชาชนทั่วไป เปิดให้บุคคลทั่วไปเข้าไปใช้บริการด้วย / มีหนังสือใหม่ๆ ที่ทันสมัย โดยเฉพาะ Journal ทางวิชาการจากต่างประเทศ ไม่ต้องการ
    ให้สืบค้นในแบบ Book และ Internet  
30 ประชาชนทั่วไป 1. จัด corner แบบกันเอง คือมีโซฟาแบบสบายๆ นั่ง และมีมุม coffee  1.บริการทำบัตรห้องสมุดแก่บุคคลภายนอก (หรือศิษย์เก่า) และมี
    2. เน้นความเป็นส่วนตัว คือ มีที่นั่งแบบโต๊ะเดี่ยว ไม่กว้างมากเกินไป และจัดระหว่างหนังสือกับโต๊ะ (ดูรูปประกอบ)  บริการบอก / ส่งข่าวสารแก่สมาชิกในคอลัมน์ Library  
    3. ชั้น Journals ควรจัดแบบมีโคมไฟแบบเปิดโดยผู้อ่าน  พร้อมกับที่นั่งหรือโต๊ะ แต่ละตัวจะมีโคมไฟ (ดูรูปประกอบ)  ในจุลสารมหิดล และพบปะสังสรรค์ระหว่างสมาชิก
    4. เพิ่มห้องโสตฯ และห้องสาธิต/แสดงผลงาน  2.บริการเอกสารงานวิจัยของแต่ละสาขาวิชา ที่ได้รับความนิยม
      /ยกย่องจากสาธารณะชน โดยทำเป็น Abstract ลงใน WWW 
      ของมหิดล และเชิญผู้วิจัยมา present 3.สอบถามผู้ใช้บริการ/สมาชิก
      เป็นช่วงๆ หรือจัดกิจกรรมสอบถามความต้องการของสมาชิก
       ในการอ่านหนังสือที่ตนชอบ
31 ประชาชนทั่วไป อยากให้มีการจัดโต๊ะอ่านหนังสือให้เป็นสัดส่วนและมีพื้นที่มากขึ้น มีชั้นวางหนังสือที่มีการออกแบบทันสมัย เพื่อดึงดูดความสนใจ กิจกรรมเปิดตัวผู้เขียนวารสารวิชาการ หรือหนังสือวิชาการ
    แก่นักศึกษาให้มีความกระตือรืนร้นในการอ่านหนังสือมากขึ้น  
32 ประชาชนทั่วไป ควรมีการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในห้องสมุด เช่น มัลติมีเดีย Wi-Fi เป็นต้น ตอบปัญหาทางวิชาการ
33 ประชาชนทั่วไป มีให้ยืมทั้งหนังสือ (หลากหลายชนิด ทั้งวิชาการ อ่านเล่น) เทปเพลง VCD, DVD / มีระบบยืมคืนที่สะดวกรวดเร็ว เปิดให้สั่งจองหนังสือในราคาพิเศษ
    มีคอมพิวเตอร์ + internet ให้ใช้ / มีมุมให้ฟังเพลง ดู TV ดู Video  
    จัดให้มีห้องสัมมนาสำหรับกลุ่มบุคคล หรือ นศ. ที่จำเป็นต้องใช้บริการห้องสมุด แต่ก็คงต้องทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งอาจต้องปรึกษา  
    พูดคุยด้วย  
34 ประชาชนทั่วไป มีป้ายบอกแต่ละชั้นว่ามีหนังสือประเภทใดบ้าง มุมแสดงหนังสือใหม่ หนังสือน่าอ่าน
      มีหนังสือพิมพ์หลากหลายมากกว่านี้
35 ประชาชนทั่วไป เป็นคลังความรู้อย่างแท้จริง คือ มีหนังสือครบ ครอบคลุมทุกสาขา เช่น วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ บริหารธุรกิจ ปรัชญา  จัดกิจกรรมขายหนังสือ ราคาถูกกว่าท้องตลาด
  (วิศวกร) ความรู้รอบตัว ฯลฯ  หรือ หนังสือมือสองก็ได้
    เปิดให้บุคคลภายนอกเป็นสมาชิก โดยทำประวัติ เช่น หน้าที่การงาน ที่อยู่อาศัย ฯลฯ และเรียกเก็บค่าบำรุงเป็นรายปี  
    โดยอาจจะแบ่งเป็น ประเภท ก ประเภท ข เพื่อให้สามารถยืม-คืน หนังสือได้ด้วย ทั้งนี้ อาจจะจำกัดจำนวนเล่ม  
    จำนวนวันที่ยืม ให้น้อยกว่าบุคคลภายในก็ได้ครับ