การประเมินคุณภาพของผลงานวิจัยของประเทศไทย ด้วยค่า Impact Factor และ Citation Frequency
รางวัลผลงานวิจัยเกียรติยศ สกว. (TRF Research Publication Award)
พ.ศ. 2542 : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด และตีพิมพ์ในวารสารที่มี Impact Factor สูงสุด
- นักวิจัยในประเทศไทย ที่ตีพิมพ์บทความซึ่งมีความถี่ของการอ้างอิงมากที่สุด :
ศ. ดร. สกล พันธุ์ยิ้ม
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
จากบทความ High Resolution Arylamide Gel Electrophoresis of Histones
ตีพิมพ์ในวารสาร Archives of Biochemistry and Biophysics 130: 337-346 (1969)
ได้รับการอ้างอิงถึงปัจจุบัน 2,558 ครั้ง
- นักวิจัยที่ตีพิมพ์ผลงานที่ได้รับทุนจาก สกว. และได้รับการอ้างอิงสูงสุด
รศ. นพ. อภิวัฒน์ มุทิรางกูร
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จากบทความ Telomerase Activity in Oral Leukoplakia and Head and Neck Squamous Cell Carcinoma
ตีพิมพ์ในวารสาร Cancer Reseach 56: 3530-3533 (1996)
ได้รับการอ้างอิงถึงปัจจุบัน 41 ครั้ง
- นักวิจัยที่ตีพิมพ์ผลงานที่ได้รับทุนจาก สกว. ในวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด
รศ. นพ. อภิวัฒน์ มุทิรางกูร
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จากบทความ Telomerase Activity in Oral Leukoplakia and Head and Neck Squamous Cell Carcinoma
ตีพิมพ์ในวารสาร Cancer Reseach 56: 3530-3533 (1996)
ค่า Impact Factor ของวารสาร = 8.426
จากหนังสือ : เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2542. TRF Senior Research Scholar 1999. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ISBN 974-89566-0-1] หน้า 70-71
พ.ศ. 2543 : รางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์ที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) โดยรวมสูงสุด
- สาขาฟิสิกส์ - ศ.ดร. วิรุฬห์ สายคณิต
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 22 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 208 ครั้ง
- สาขาวิศวกรรมศาสตร์ - ศ.ดร. จงรักษ์ ผลประเสริฐ
คณะสิ่งแวดล้อมทรัพยากรและการพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT)
มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 52 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 261 ครั้ง
- สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ - ศ.ดร. ผาสุก พงษ์ไพจิตร
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 26 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 109 ครั้ง
- สาขาคณิตศาสตร์ - ไม่มีผู้เข้าข่ายได้รับรางวัล
จากหนังสือ : เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2543. TRF Senior Research Scholar 2000. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ISBN 974-8196-85-2] หน้า 64-65
พ.ศ. 2544 : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) โดยรวมสูงสุด ระหว่างปี ค.ศ. 1990 ถึงปัจจุบัน
- สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์
ศ.นพ. ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
มีผลงานจำนวน 192 เรื่อง
มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 95 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 1,177 ครั้ง
ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Am J Path 1994; 145(5): 1057-69. (89 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ J Clin Invest = 10.921
- สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์
ศ.ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
มีผลงานจำนวน 45 เรื่อง
มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 20 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 175 ครั้ง
ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Tetrahedron 1990; 46: 1385. (73 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ J Med Chem = 4.079
- สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
รศ.ดร. ชาย โพธิสิตา
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
มีผลงานจำนวน 19 เรื่อง
มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 12 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 84 ครั้ง
ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ AIDS 1996; 10: 1265-71. (28 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ AIDS = 6.931
จากหนังสือ : เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2544. TRF Senior Research Scholar 2001. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ISBN 974-8196-94-1] หน้า 56-57
พ.ศ. 2545 : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) โดยรวมสูงสุด ระหว่างปี ค.ศ. 1991 ถึงปัจจุบัน
- สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์
ศ.นพ. ธีระ ศิริสันธนะ
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 24 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 443 ครั้ง
ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Lancet 1994;344(8915): 110-3. (111 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ Lancet = 10.232
- สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์
ศ.ดร. วิชัย ริ้วตระกูล
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
มีผลงานที่ถูกอ้างอิงทั้งสิ้น 28 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 186 ครั้ง
ผลงานที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Tetrahedron 1997;53:17625. (18 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มีค่า Impact Factor สูงสุด คือ Tetrahedron Lett = 2.558
เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2545. TRF Senior Research Scholar 2002. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ISBN 974-7206-07-5] หน้า 62-72
พ.ศ. 2546 : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) โดยรวมสูงสุด ระหว่างปี ค.ศ. 1992 ถึงปัจจุบัน
- สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
ศ. ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สวทช.
มีผลงานตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน
โดยเป็นผู้นิพนธ์ชื่อแรก หรือชื่อสุดท้าย หรือเป็น corresponding author
และผลงานนั้นได้รับการอ้างอิง จำนวน 26 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 342 ครั้ง
ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Antimicrob Agents Ch 1993:37:1108-1114 (112 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มี impact factor สูงสุด คือ J Clin Invest (=14.051)
- สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
ศ.นพ. ยง ภู่วรวรรณ
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มีผลงานตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน
โดยเป็นผู้นิพนธ์ชื่อแรก หรือชื่อสุดท้าย หรือเป็น corresponding author
และผลงานนั้นได้รับการอ้างอิง จำนวน 55 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 323 ครั้ง
ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Clinical Cancer Research 1998:4(3):665-669 (43 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มี impact factor สูงสุด คือ Antiviral Therapy (=6.565)
- สาขาเกษตรศาสตร์
ศ.ดร. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มีผลงานตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน
โดยเป็นผู้นิพนธ์ชื่อแรก หรือชื่อสุดท้าย หรือเป็น corresponding author
และผลงานนั้นได้รับการอ้างอิง จำนวน 29 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 202 ครั้ง
ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ Plant and Soil 1993:155/156:309 (24 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มี impact factor สูงสุด คือ Field Crop Res (=1.302)
- สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ
รศ.ดร. สุพจน์ หารหนองบัว
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มีผลงานตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน
โดยเป็นผู้นิพนธ์ชื่อแรก หรือชื่อสุดท้าย หรือเป็น corresponding author
และผลงานนั้นได้รับการอ้างอิง จำนวน 16 เรื่อง รวมความถี่ในการอ้างอิง 105 ครั้ง
ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด คือ J Chem Phys 1992:96:6945 และ
J Phys Chem A 1997;101:5551 (14 ครั้ง)
ผลงานวารสารที่มี impact factor สูงสุด คือ J Phys Chem (=3.611)
- สาขาวิศวกรรมศาสตร์ - ไม่มีผู้เข้าข่ายได้รับรางวัล
- สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ - ไม่มีผู้เข้าข่ายได้รับรางวัล
เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2546. TRF Senior Research Scholar 2003. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. หน้า 108-138